ความหวั่นเกรงในการปล่อยนักโทษในช่วงของการจลาจลในเมียนมาร์

ความหวั่นเกรงในการปล่อยนักโทษในช่วงของการจลาจลในเมียนมาร์

อย่างที่ได้เห็นเรื่องของการก่อรัฐประหารที่มีการใช้อำนาจในการสั่งการของทางภาครัฐที่ได้มีความต้องการออกคำสั่งในการระงับเหตุการณ์ไม่สงบในครั้งนี้ของการก่อจลาจลของประชาชนที่เรียกร้องสิทธิของตัวเองกันนั้นเองจะเห็นได้ว่ามีท่าทีของความรุนแรงในเหตุการณ์ครั้งนี้ไม่ลดลงแต่อย่างใด และยังมีเรื่องของการออกคำสั่งในการให้เหล่าทหารและตำรวจทำหน้าที่ในการป้องกันเหตุการณ์ชุมนุมในครั้งนี้

จากเหตุการณ์ดังกล่าวที่เกิดขึ้นกันนี้เองในความคิดเห็นของเหล่าผู้นำประเทศที่ได้มีการประชุมกันในเรื่องของการก่อรัฐประหารในประเทศเมียนมาร์ในครั้งนี้ที่ยังทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นกันนั้นก็แสดงให้เห็นแล้วว่าการแก้ปัญหายังไม่คืบหน้าไปถึงไหนเลย และยังมีความหวั่นเกรงในการออกคำสั่งของรัฐบาลเมียนมาร์ในการปล่อยตัวนักโทษออกมาเนื่องในวันสหภาพเมียนมาร์ที่มีการปล่อยตัวกลุ่มนักโทษที่ทำตัวดี ที่ต้องการแสดงความเป็นธรรมให้แก่มนุษย์กับกลุ่มคนที่ได้ถูกปล่อยตัวกันไปนั้นเอง

แต่ในความหวั่นเกรงที่ได้มีการคิดเอาไว้แล้วว่าอาจจะมีความนัยแฝงเรื่องของการปล่อยออกมาเพื่อก่อความไม่สงบในเหตุการณ์ครั้งนี้ที่มีการจลาจลกันอยู่นั้นเอง และยังมีเรื่องของการที่ทหารภายในประเทศเมียนมาร์นั้นไม่มีการทำตามหน้าที่อยู่นี้เอง ยิ่งกลายเป็นอีกหนึ่งข้อกังวลของเหตุการณ์ชุมนุมในครั้งนี้ว่าจะมีความรุนแรงไปทางไหนกันนั้นเอง

ด้วยรูปแบบของการก่อเกิดรัฐประหารในครั้งนี้ที่มีการกระทำต่อกลุ่มผู้ชุมนุมของประเทศตัวเองกันนั้นให้การลงนามของเหล่าผู้นำในต่างประเทศเองก็เริ่มที่จะต้องมีการลงมติขั้นเด็ดขาดในการจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นมานี้เองยังส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศเมียนมาร์อย่างมากในเวลานี้เอง จึงทำให้การลงมติการคว่ำบาตรของการปฏิบัติหน้าที่ของนายพลภายในประเทศเมียนมาร์นั้นขึ้นบัญชีดำกับประเทศอื่น ๆ ในการตัดสินใจลงมือทำรัฐประหารในครั้งนี้